ในการประชุมขับเคลื่อนการศึกษาแผนพัฒนาโครงข่าย MR-Map เมื่อเร็วๆนี้ รับทราบความก้าวหน้าผลการดำเนินงานศึกษาจัดทำแผนการพัฒนาโครงข่ายทางพิเศษระหว่างเมืองและระบบราง(MR–Map) ของกรมทางหลวง
ในการประชุมขับเคลื่อนการศึกษาแผนพัฒนาโครงข่าย MR-Map เมื่อเร็วๆนี้ รับทราบความก้าวหน้าผลการดำเนินงานศึกษาจัดทำแผนการพัฒนาโครงข่ายทางพิเศษระหว่างเมืองและระบบราง(MR–Map) ของกรมทางหลวง
โดยได้พิจารณา 4 โครงการนำร่องที่มีศักยภาพ ได้แก่ 1. เส้นทาง MR5 ชุมพร – ระนอง 2. เส้นทาง MR8 หนองคาย (ด่านหนองคาย) – แหลมฉบัง ช่วงนครราชสีมา – แหลมฉบัง 3. เส้นทาง MR9 กาญจนบุรี (ด่านเจดีย์สามองค์) – อุบลราชธานี (สะพานมิตรภาพแห่งที่ 6)ช่วงนครราชสีมา – อุบลราชธานี 4. เส้นทาง MR10 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 ระยะทางรวม 319 กิโลเมตร
นอกจาก ให้มีการศึกษาโครงการนำร่องที่มีศักยภาพเพิ่มเติมอีก 1 เส้นทาง คือ เส้นทางเชื่อมระหว่างเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) – เส้นทาง MR5 (ชุมพร – ระนอง)และกำชับให้กรมทางหลวงเน้นหลักการของโครงการแผนพัฒนาโครงข่าย MR-Map